คณิตศาสตร์ระดับประถม สารบัญ


ทั้งหมด 20 ข้อ

1
1

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{1}{3} + \dfrac{2}{3}$

คำตอบคือ ข้อ ค.
เพราะส่วนเท่ากัน ให้นำเศษมาบวกกันได้เลย
$\dfrac{1}{3} + \dfrac{2}{3} = \dfrac{1 + 2}{3} = \dfrac{3}{3} = 1$

2
2

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{2}{7} + \dfrac{4}{7}$

คำตอบคือ ข้อ ก.
เพราะส่วนเท่ากัน ให้นำเศษมาบวกกันได้เลย
$\dfrac{2}{7} + \dfrac{4}{7} = \dfrac{2 + 4}{7} = \dfrac{6}{7} $

3
3

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{1}{2} + \dfrac{3}{8}$

คำตอบคือ ข้อ ข.
เพราะส่วนไม่เท่ากัน ให้ทำส่วนให้เท่ากัน
$\dfrac{1}{2} + \dfrac{3}{8} = \dfrac{1\times 4}{2\times 4} + \dfrac{3}{8} =\dfrac{4}{8} + \dfrac{3}{8} = \dfrac{4+3}{8}= \dfrac{7}{8} $

4
4

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{4}{9} + \dfrac{2}{3}$

คำตอบคือ ข้อ ง.
ทำส่วนให้เท่ากันก่อน $\dfrac{4}{9} + \dfrac{2\times 3}{3\times 3} =\dfrac{4}{9} + \dfrac{6}{9} = \dfrac{4 + 6}{9} = \dfrac{10}{9} $
ทำเศษส่วนให้เป็นจำนวนคละ $1\!\dfrac{1}{9}$

5
5

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{3}{44} + \dfrac{2}{11}$

คำตอบคือ ข้อ ก.
ทำส่วนให้เท่ากันก่อน $\dfrac{3}{44} + \dfrac{2\times 4}{11\times 4} =\dfrac{3}{44} + \dfrac{8}{44} = \dfrac{3 + 8}{44} = \dfrac{11}{44} $
ทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ $ \dfrac{11 \div 11}{44 \div 11} = \dfrac{1}{4}$

6
6

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{3}{4} + \dfrac{5}{6}$

คำตอบคือ ข้อ ง.
ทำส่วนให้เท่ากัน โดยการหาค.ร.น. ของ 4 และ 6 จะได้ 12
$\dfrac{3 \times 3}{4 \times 3} + \dfrac{5\times 2}{6\times 2} =\dfrac{9}{12} + \dfrac{10}{12} = \dfrac{9 + 10}{12} = \dfrac{19}{12} $
ทำให้เป็นจำนวนคละ $ 1\! \dfrac{7}{12}$







7
7

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{9}{10} + \dfrac{5}{6}$

คำตอบคือ ข้อ ค.
ทำส่วนให้เท่ากัน โดยการหาค.ร.น. ของ 10 และ 6 จะได้ 60
$\dfrac{9 \times 6}{10 \times 6} + \dfrac{5\times 10}{6\times 10} =\dfrac{54}{60} + \dfrac{50}{60} = \dfrac{54 + 50}{60} = \dfrac{104}{60} $
จากนั้นทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ $\dfrac{104 \div 4}{60 \div 4} = \dfrac{26}{15}$
ทำให้เป็นจำนวนคละ $ 1\! \dfrac{11}{15}$

8
8

สมใจซื้อส้มมา $1\!\dfrac{3}{4}$ กิโลกรัม ซื้อมังคุดมา $\dfrac{7}{9}$ สมใจซื้อส้มและมังคุดรวมกี่กิโลกรัม

คำตอบคือข้อ ง
จากโจทย์สมใจซื้อส้มและมังคุดรวมกัน $1\!\dfrac{3}{4} + \dfrac{7}{9}$
วิธีที่ 1
ทำจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน $1\!\dfrac{3}{4} = \dfrac{7}{4}$
จากนั้นนำมาหาผลบวก แต่เนื่องจากส่วนไม่เท่ากัน จึงต้องหา ค.ร.น. ของ 4 และ 9
ค.ร.น. ของ 4 และ 9 เท่ากับ 36
$\dfrac{7 \times 9}{4 \times 9} + \dfrac{7\times 4}{9\times 4} =\dfrac{63}{36} + \dfrac{28}{36} = \dfrac{63 + 28}{36} = \dfrac{91}{36} $
ทำให้เป็นจำนวนคละ $2\!\dfrac{19}{36}$
วิธีที่ 2
บวกกันเฉพาะเศษส่วน จำนวนเต็มเก็บไว้ก่อน
$\dfrac{3}{4} + \dfrac{7}{9} = \dfrac{3 \times 9}{4 \times 9} + \dfrac{7\times 4}{9\times 4} =\dfrac{27}{36} + \dfrac{28}{36} = \dfrac{27 + 28}{36} = \dfrac{55}{36} $
ทำให้เป็นจำนวนคละ $1\!\dfrac{19}{36}$
นำไปบวกกันจำนวนเต็ม $ 1 + 1\!\dfrac{19}{36} = 2\!\dfrac{19}{36}$

9
9

ข้อใดคือค่าของ $ 1 + \dfrac{1}{2 + \dfrac{1}{3 + \dfrac{1}{4}}}$

คำตอบคือ ข้อ ข.
เริ่มคิดจาก $\dfrac{1}{3+\dfrac{1}{4}}$
$\dfrac{1}{3+\dfrac{1}{4}} = \dfrac{1}{\dfrac{3\times 4}{1 \times 4}+\dfrac{1}{4}}= \dfrac{1}{\dfrac{12}{4} + \dfrac{1}{4}}= \dfrac{1}{\dfrac{12+1}{4}}=\dfrac{1}{\dfrac{13}{4}}$
ทำส่วนให้เป็น 1 : $\dfrac{1}{\dfrac{13}{4}} = \dfrac{1 \times \dfrac{4}{13}}{\dfrac{13}{4} \times \dfrac{4}{13}} = \dfrac{\dfrac{4}{13}}{1} = \dfrac{4}{13}$
จากนั้นนำผลลัพธ์ที่ได้ไปบวกกับ 2
$\dfrac{1}{2+\dfrac{4}{13}} = \dfrac{1}{\dfrac{2\times 13}{1 \times 13}+\dfrac{4}{13}}= \dfrac{1}{\dfrac{26}{13} + \dfrac{4}{13}}= \dfrac{1}{\dfrac{26+4}{13}}=\dfrac{1}{\dfrac{30}{13}}$
ทำส่วนให้เป็น 1 : $\dfrac{1}{\dfrac{30}{13}} = \dfrac{1 \times \dfrac{13}{30}}{\dfrac{30}{13} \times \dfrac{13}{30}} = \dfrac{\dfrac{13}{30}}{1} = \dfrac{13}{30}$
จะได้เป็น $1 + \dfrac{13}{30} = 1\!\dfrac{13}{30}$

10
10

ค่าของ $\dfrac{168}{\dfrac{1}{2} +\dfrac{1}{3}-\dfrac{1}{4}} + \dfrac{25}{\dfrac{1}{2}-\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}}$ เท่ากับข้อใด

คำตอบคือข้อ ข
$\dfrac{168}{\dfrac{1}{2} +\dfrac{1}{3}-\dfrac{1}{4}}$ = $\dfrac{168}{\dfrac{6+4-3}{12}}$ = $\dfrac{168\times 12}{7} = 288$
$\dfrac{25}{\dfrac{1}{2}-\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}}$ = $\dfrac{25}{\dfrac{6-4+3}{12}}$ = $\dfrac{25}{\dfrac{5}{12}} = \dfrac{25}{5} \times 12 = 60$
288 + 60 = 348

11
11

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{4}{5}-\dfrac{1}{5}$

คำตอบคือข้อ ก.
เพราะถ้าส่วนเท่ากัน สามารถมานำเศษมาลบกันได้เลย
$\dfrac{4}{5}-\dfrac{1}{5}=\dfrac{4-1}{5}=\dfrac{3}{5}$

12
12

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{9}{14}-\dfrac{5}{14}$

คำตอบคือข้อ ข. เพราะถ้าส่วนเท่ากัน สามารถนำเศษมาลบกันได้เลย
$\dfrac{9}{14}-\dfrac{5}{14} = \dfrac{9-5}{14} = \dfrac{4}{14}$
ทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ $\dfrac{4\div 2}{14\div2} = \dfrac{2}{7}$







13
13

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{7}{10}-\dfrac{2}{5}$

คำตอบคือข้อ ง.
เนื่องจากส่วนไม่เท่ากัน ไม่สามารถนำมาลบกันได้เลย ต้องทำส่วนให้เท่ากันก่อน
$\dfrac{7}{10}-\dfrac{2}{5} = \dfrac{7}{10}-\dfrac{2\times2}{5\times2} = \dfrac{7}{10}-\dfrac{4}{10}=\dfrac{7-4}{10}=\dfrac{3}{10}$

14
14

จงหาผลลัพธ์ของ $\dfrac{2}{3}-\dfrac{1}{2}$

คำตอบคือข้อ ก.
เนื่องจากส่วนไม่เท่ากัน จึงไม่สามารถนำมาลบกันได้เลย ต้องทำส่วนให้เท่ากันก่อน
$\dfrac{2}{3}-\dfrac{1}{2}=\dfrac{2\times2}{3\times2}-\dfrac{1\times3}{2\times3}=\dfrac{4}{6}-\dfrac{3}{6}=\dfrac{4-3}{6}=\dfrac{1}{6}$

15
15

จงหาผลลัพธ์ของ $3-\dfrac{4}{7}$

คำตอบคือข้อ ง.
ส่วนไม่เท่ากัน ไม่สามารถนำมาลบกันได้เลย ต้องทำส่วนให้เท่ากันก่อน
$3-\dfrac{4}{7} =2 + (1-\dfrac{4}{7})= 2 + (\dfrac{7}{7}-\dfrac{4}{7}) = 2 + \dfrac{3}{7} = 2\!\dfrac{3}{7}$

16
16

จงหาผลลัพธ์ของ $4\!\dfrac{3}{5}-\dfrac{3}{7}$

คำตอบคือข้อ ง.
วิธีที่ 1
เปลี่ยนจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน $4\!\dfrac{3}{5}= \dfrac{23}{5}$
$\dfrac{23}{5}-\dfrac{3}{7} = \dfrac{23\times7}{5\times7}-\dfrac{3\times5}{7\times5} = \dfrac{161}{35}-\dfrac{15}{35}=\dfrac{161-15}{35}=\dfrac{146}{35}=4\!\dfrac{6}{35}$
วิธีที่ 2
$4+(\dfrac{3}{5}-\dfrac{3}{7}) = 4 + (\dfrac{3\times7}{5\times7}-\dfrac{3\times5}{7\times5}) = 4 + (\dfrac{21}{35}-\dfrac{15}{35}) = 4 + \dfrac{6}{35} = 4\!\dfrac{6}{35}$

17
17

พลอยมีริบบิ้นยาว $\dfrac{5}{8}$เมตร น้ำมีริบบิ้นยาว $\dfrac{9}{8}$เมตร ใครมีริบบิ้นยาวกว่าและยาวกว่าเท่าไหร่

คำตอบคือข้อ ค.
ถ้าส่วนเท่ากันให้เปรียบเทียบเศษ เศษที่มากกว่าหมายถึงค่าที่มากกว่า และสามารถนำมาหักลบกันได้เลย
$\dfrac{9}{8}-\dfrac{5}{8}=\dfrac{4}{8} =\dfrac{1}{2}$

18
18

แม่มีน้ำส้มอยู่ $2\!\dfrac{1}{3}$ ลิตรแบ่งให้หนูดี $\dfrac{2}{3}$ ลิตร แม่จะเหลือน้ำส้มอยู่เท่าไหร่

คำตอบคือข้อ ค.
แม่จะเหลือน้ำส้ม $2\!\dfrac{1}{3}-\dfrac{2}{3}=\dfrac{7}{3}-\dfrac{2}{3}=\dfrac{5}{3}=1\!\dfrac{2}{3}$ ลิตร







19
19

คนงานลาดยางวันแรกได้ $1\!\dfrac{5}{6}$กิโลเมตร วันที่สองลาดยางได้น้อยกว่าวันแรก $\dfrac{3}{4}$กิโลเมตร วันที่สองคนงานลาดยางถนนไปได้กี่กิโลเมตร

คำตอบคือข้อ ข.
วันที่สองทำได้น้อยกว่าวันแรก ดังนั้น $1\!\dfrac{5}{6} -\dfrac{3}{4}$
ทำจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน $1\!\dfrac{5}{6}=\dfrac{11}{6}$
ทำส่วนให้เท่ากัน
ค.ร.น. ของ 6 และ 4 คือ 12
$\dfrac{11}{6}-\dfrac{3}{4}=\dfrac{11\times2}{6\times2}-\dfrac{3\times3}{4\times3}=\dfrac{22}{12}-\dfrac{9}{12}=\dfrac{13}{12}=1\!\dfrac{1}{12}$

20
20

ฟ้าซื้อส้ม $2\!\dfrac{3}{10}$ กิโลกรัม มังคุด $1\!\dfrac{2}{5}$กิโลกรัม ซื้อฝรั่งน้อยกว่าน้ำหนักของส้มและมังคุดรวมกัน $\dfrac{1}{2}$ กิโลกรัม ฟ้าซื้อฝรั่งหนักกี่กิโลกรัม

คำตอบคือข้อ ก.
ฝรั่งน้อยกว่า น้ำหนักของส้มและมังคุดรวมกัน ต้องหาน้ำหนักของส้มและมังคุดรวมกันก่อน
$2\!\dfrac{3}{10} + 1\!\dfrac{2}{5}$
ทำให้เป็นเศษเกิน
$2\!\dfrac{3}{10} + 1\!\dfrac{2}{5} =\dfrac{23}{10}+\dfrac{7}{5} = \dfrac{23}{10} + \dfrac{7\times2}{5\times2} = \dfrac{23}{10}+\dfrac{14}{10}=\dfrac{37}{10}$
จากโจทย์ ซื้อฝรั่งน้อยกว่าซื้อส้มและมังคุดรวมกัน$\dfrac{1}{2}$ กิโลกรัม
$\dfrac{37}{10}-\dfrac{1}{2} = \dfrac{37}{10}-\dfrac{1\times5}{2\times5}=\dfrac{37}{10}-\dfrac{5}{10}=\dfrac{32}{10}=3\!\dfrac{2}{10}=3\!\dfrac{1}{5}$



















--